• ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า
No Result
View All Result
The Principia
  • ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า
No Result
View All Result
The Principia
No Result
View All Result

อัลเฟรด โนเบล จากพ่อค้าความตาย สู่ชายผู้มอบรางวัล

Tanakrit SrivilasNakarin ChantasobyTanakrit SrivilasandNakarin Chantaso
21/10/2022
in Biography, On this day
A A
0
อัลเฟรด โนเบล จากพ่อค้าความตาย สู่ชายผู้มอบรางวัล
Share on FacebookShare on Twitter

รางวัลโนเบล (Nobel Prize) คงจะเป็นรางวัลที่หลายคนคุ้นชื่อกันดี เพราะมันเป็นรางวัลประจำปีระดับนานาชาติ ซึ่งจัดโดยคณะกรรมการสแกนดิเนเวีย พิจารณาผลงานวิจัยหรือความอัจฉริยะและความเชี่ยวชาญที่โดดเด่น หรือสร้างคุณประโยชน์ให้กับมนุษยชาติ ทั้งในด้านวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม ตามเจตจำนงของอัลเฟรด โนเบล (Alfred Nobel) นักเคมีชาวสวีเดน ถือว่าเป็นรางวัลอันทรงเกียรติสำหรับผู้ที่ทำงานในด้านวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมจริง ๆ แต่วันนี้ นอกจากตัวรางวัลแล้ว เราอยากพาทุกคนมารู้จักกับผู้ให้กำเนิดรางวัลนี้กัน ว่าเขาเป็นใครมาจากที่ไหน

เหรียญรางวัลโนเบลอันทรงเกียรติ
ที่มา Britannica

พ่อค้าความตาย

อัลเฟรด โนเบล เกิดที่กรุงสต็อกโฮล์ม ประเทศสวีเดน เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ. 1833 โดยที่เขามีพ่อเป็นวิศวกร เมื่อเติบโตขึ้นครอบครัวโนเบลได้ย้ายมาอยู่ที่สหรัฐอเมริกา หลังจากนั้น อัลเฟรด ได้ทุ่มเทเวลาส่วนใหญ่ในการคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ด้านระเบิด ด้วยสารเคมีที่ทันสมัยมากในยุคนั้นคือ “ไนโตรกลีเซอรีน” และด้วยความชาญฉลาดของเขา ทำให้ “ไดนาไมต์” ระเบิดขนาดเล็ก ที่มีความปลอดภัยในการผลิตและการขนย้ายอย่างมากถูกวางขายเพื่อใช้ในงานด้านอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น การทำเหมือง การขุดคลอง การขุดอุโมงค์

แต่แล้วไดนาไมต์กลับถูกนำมาใช้ในทางทหารและการทำสงครามด้วย เป็นผลให้ผู้คนล้มตายเป็นจำนวนมากด้วยระเบิดชนิดนี้ จนครั้งหนึ่งที่พี่ชายของ อัลเฟรด โนเบล เสียชีวิตไป สื่อใหญ่จากฝรั่งเศสเข้าใจผิดคิดว่าเป็นการเสียชีวิตของเขา จึงได้พาดหัวข่าวกล่าวถึงอัลเฟรดว่า “พ่อค้าความตายได้ตายเองแล้ว” ซึ่งเขาถูกเรียกด้วยฉายานี้เนื่องจากผลิตอาวุธมรณะอย่างระเบิดไดนาไมต์ขึ้นมา นั่นทำให้เขารู้สึกผิดอย่างมาก และสร้างแรงจูงใจให้เขามอบทรัพย์สินของตนเองกว่า 94% มาใช้เป็นเงินรางวัลให้แก่ผู้ที่สร้างคุณประโยชน์แก่โลกใบนี้ นั่นคือจุดกำเนิดของ “รางวัลโนเบล” ที่เราคุ้นชื่อกันดี

อัลเฟรด โนเบล
ที่มา Britannica

ชายผู้มอบรางวัล

รางวัลโนเบลเริ่มต้นมอบครั้งแรกในปี ค.ศ. 1901 โดยตอนแรกมีเพียง 5 สาขา ได้แก่ สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ สาขาฟิสิกส์ สาขาเคมี สาขาวรรณกรรม และสาขาสันติภาพ และในปี ค.ศ. 1969 ธนาคารแห่งชาติสวีเดน ก็ได้เพิ่มการมอบรางวัลสาขาเศรษฐศาสตร์เข้ามาอีกด้วย โดยใช้ชื่อว่า รางวัลธนาคารกลางสวีเดน สาขาเศรษฐศาสตร์ เพื่อรำลึกถึงอัลเฟรด โนเบล ซึ่งรางวัลทั้ง 6 สาขาก็ถูกมอบมาจนถึงในปัจจุบัน

การมอบรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพจัดขึ้นที่เมืองออสโล ประเทศนอร์เวย์ ส่วนสาขาอื่น ๆ จัดที่เมืองสต็อกโฮล์มประเทศสวีเดน ผู้ได้รับรางวัลโนเบลในแต่ละสาขานั้นถือว่าเป็นเกียรติยศสูงสุดในสาขาวิชาชีพนั้น ๆ

และถ้าหากอยากรู้ข้อมูลเกี่ยวกับรางวัลโนเบลด้านวิทยาศาสตร์ของปี 2022 ให้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นใน สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์, สาขาฟิสิกส์, หรือ สาขาเคมี ทางเว็บไซต์ The Principia ของเราได้รวบรวมไว้ให้แล้ว สามารถคลิกที่ชื่อสาขาเพื่อเข้าไปดูต่อได้เลย

อ้างอิง

The Nobel Prize

10 ธันวาคม 1901 มอบรางวัลโนเบลเป็นครั้งแรก รางวัลแห่งมวลมนุษยชาติ

อัลเฟรด โนเบล

รางวัลโนเบล

10 ธันวาคม 1901 มอบรางวัลโนเบลเป็นครั้งแรก รางวัลแห่งมวลมนุษยชาติ
Tanakrit Srivilas

Tanakrit Srivilas

Jack of all trades, passionate about Biotechnology, Molecular genetics, Evolutionary biology, and Communication.

Nakarin Chantaso

Nakarin Chantaso

บรรณาธิการบริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง The Principia ผู้ชื่นชอบในศิลปะ การสื่อสาร อวกาศ และเป็นทาสแมว

Related Posts

ชายผู้ยุติโรคมรณะที่ชื่อว่า “โรคพิษสุนัขบ้า”
Biology

ชายผู้ยุติโรคมรณะที่ชื่อว่า “โรคพิษสุนัขบ้า”

byTanakrit Srivilas
27/12/2022
ทั้งช่วยชีวิต ทั้งคร่าชีวิต: นักวิทย์ผู้รักชาติจนตัวตาย แต่ได้รับผลตอบแทนแสนเจ็บปวด
Biography

ทั้งช่วยชีวิต ทั้งคร่าชีวิต: นักวิทย์ผู้รักชาติจนตัวตาย แต่ได้รับผลตอบแทนแสนเจ็บปวด

byTanakrit Srivilas
09/12/2022
1 ธันวาคม ดาวอังคารใกล้โลก
News

1 ธันวาคม ดาวอังคารใกล้โลก

byNakarin Chantaso
03/12/2022
5 เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ “มารี คูรี” นักวิทยาศาสตร์หญิงเจ้าของสองรางวัลโนเบล
Biography

5 เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ “มารี คูรี” นักวิทยาศาสตร์หญิงเจ้าของสองรางวัลโนเบล

byPichayut Tananchayakul
07/11/2022
The Principia

ส่งเสริมสังคมสร้างสรรค์ ด้วยการสื่อสารวิทยาศาสตร์

© 2021 ThePrincipia. All rights reserved.

The Principia Media

About Us
Members
Contact Us
theprincipia2021@gmail.com

Follow us

No Result
View All Result
  • ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า