• ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า
No Result
View All Result
The Principia
  • ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า
No Result
View All Result
The Principia
No Result
View All Result

น้ำท่วมแก้ได้ด้วยเทคโนโลยี (และการจัดการอย่างจริงจัง)

Peeranath WatthanaseanbyPeeranath Watthanasean
20/09/2022
in Engineering, Environment, Geography
A A
0
น้ำท่วมแก้ได้ด้วยเทคโนโลยี (และการจัดการอย่างจริงจัง)

https://www.srpegroup.co.th/blog/inspired-by-the-netherlands-delta-works-the-best-flood-management-project-in-the-world.html

Share on FacebookShare on Twitter

น้ำท่วม น้ำหลาก น้ำป่า น้ำรอระบาย หลากหลายปัญหาอุทกภัยที่คนไทยได้เจอไม่มากก็น้อยเป็นเวลาอย่างยาวนานจนอยู่กับปัญหานี้จนเคยชินและคิดว่าคงแก้ไขปัญหาไม่ได้แล้ว แต่ในความเป็นจริง ได้มีหลากหลายประเทศที่เจอปัญหาเรื่องอุทกภัยไม่ต่างกับเรา และมีหลายประเทศที่สามารถนำเทคโนโลยีมาช่วยในการจัดการปัญหานี้ได้ด้วย โดยเราได้ยกตัวอย่าง 4 ประเทศที่นำเทคโนโลยีมาใช้ดังนี้

1. จีน กับเมืองฟองน้ำ (Sponge city) ที่ถูกออกแบบโดยนักออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมที่มีชื่อว่า ศาสตราจารย์ Kongjian Yu โดยเมืองฟองน้ำเป็นเมืองที่ออกแบบมาให้ธรรมชาติเป็นตัวช่วยหลักในการกักเก็บและดูดซึมน้ำ เพื่อใช้ในยามขาดแคลนน้ำและเพิ่มพื้นที่สีเขียวภายในเมือง

โมเดลของเมืองฟองน้ำที่ใช้แก้ปัญหาน้ำท่วมในจีน
ที่มา :ถอดบทเรียน ‘จีน’ การแก้ปัญหาน้ำท่วมด้วยการเปลี่ยนเมืองเป็นฟองน้ำ – DotProperty.co.th
This man is turning cities into giant sponges to save lives
ที่มา : YouTube

2. ญี่ปุ่น พูดกันได้ว่าญี่ปุ่นเป็นประเทศที่เจอปัญหาอุทกภัยที่อยู่ในระดับที่รุนแรงเป็นอย่างมาก แต่ด้วยที่เป็นประเทศแห่งเทคโนโลยีและนวัตกรรม ก็ได้มีการจัดการรับมือกับอุทกภัยนี้ได้มากมายหลายวิธี โดยทางเราขอยกตัวอย่าง อุโมงค์คัสสึคาเบะ ที่เป็นอุโมงค์ระบายน้ำขนาดยักษ์นี้สามารถสูบน้ำได้ 200 ตันต่อวินาทีเลยทีเดียว

อุโมงค์ยักษ์ที่รองรับน้ำ
ที่มา : ถอดบทเรียน ‘ญี่ปุ่น’ การแก้ปัญหาน้ำท่วมด้วยอุโมงค์ยักษ์ – DotProperty.co.th

3. ฮ่องกง ก็ประสบปัญหาพื้นที่เป็นลักษณะแอ่งกระทะและพื้นที่เมืองส่วนใหญ่เป็นคอนกรีตซึ่งทำให้เกิดน้ำท่วมบ่อยครั้ง โดยฮ่องกงเองก็ใช้วิธีรับมือโดยการสร้างอุโมงค์ใต้ดินเช่นเดียวกันกับญี่ปุ่น แต่มีส่วนเพิ่มเติมตรงที่ตัวอุโมงค์นี้มีส่วนของการพักน้ำเพื่อที่จะเอาไว้ใช้ต่อได้อีกด้วย โดยโครงการนี้มีชื่อเรียกว่า Happy vally

สนามกีฬาที่สร้างขึ้นโดยด้านล่างเป็นบ่อพักน้ำก่อนจะปล่อยออกสู่ทะเลผ่านโครงข่ายอุโมงค์
ที่มา : Happy Valley 2015 – Happy Valley, Hong Kong – Wikipedia

4. เนเธอร์แลนด์ เป็นประเทศที่ประสบปัญหามีพื้นที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลมากถึง 20% ของพื้นที่ทั้งหมด ทำให้มีการทำโครงการ Delta Works ขึ้นมา โดยโครงการนี้เป็นการสร้างเขื่อน พนังกั้นน้ำ ประตูระบายน้ำ และกำแพงกันคลื่นจากลมพายุรอบพื้นที่ติดทะเลทั่วประเทศ ซึ่งทำให้สามารถควบคุมระดับน้ำให้เหมาะสม

Delta Works โครงข่ายชลประทานของเนเธอร์เเลนด์ที่สร้างเพื่อป้องกันและจัดการปริมาณน้ำ
ที่มา :ถอดบทเรียน ‘เนเธอร์แลนด์’ ประเทศต่ำกว่าน้ำทะเล แต่ไม่เคยน้ำท่วม! – DotProperty.co.th

จากที่ยกตัวอย่างมานั้น นอกจากการมีเทคโนโลยีและนวัตกรรมต่างๆแล้ว โครงการต่างๆจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้เลย หากขาดการบริหารจัดการอย่างจริงจังของภาครัฐในแต่ละประเทศนั้น เพื่อให้เกิดการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนและส่งผลดีต่อประชาชนในประเทศในรุ่นต่อๆไป

อ้างอิง

น้ำท่วมไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่ละประเทศมีแผนการรับมือกันอย่างไร – DotProperty.co.th

ถอดบทเรียน ‘จีน’ การแก้ปัญหาน้ำท่วมด้วยการเปลี่ยนเมืองเป็นฟองน้ำ – DotProperty.co.th

ถอดบทเรียน ‘ญี่ปุ่น’ การแก้ปัญหาน้ำท่วมด้วยอุโมงค์ยักษ์ – DotProperty.co.th

ถอดบทเรียน ‘เนเธอร์แลนด์’ ประเทศต่ำกว่าน้ำทะเล แต่ไม่เคยน้ำท่วม! – DotProperty.co.th

Tags: engineeringfloodgeographyWater
Peeranath Watthanasean

Peeranath Watthanasean

มนุษย์เป็ดโดยสมบูรณ์ ผู้สนใจแทบทุกศาสตร์ที่ผ่านตามา ตื่นเต้นกับความรู้ใหม่เสมอ ยึดมั่นกับวิทยาศาสตร์และตรรกะ หรือสิ่งใดก็ตามที่มีที่มาและให้เหตุผลได้

Related Posts

mu Space เชิญสื่อร่วมฟังอัปเดตเทคโนโลยีล่าสุดภายในงาน TECHDAY 2022
Astronomy

mu Space เชิญสื่อร่วมฟังอัปเดตเทคโนโลยีล่าสุดภายในงาน TECHDAY 2022

byTakol Tangphatiand2 others
11/12/2022
โรคร้ายในปอด เนื่องจากมลพิษในอากาศ
Diseases

โรคร้ายในปอด เนื่องจากมลพิษในอากาศ

byTanakrit Srivilas
19/11/2022
Innovation for Life พาไปชมนวัตกรรมโลกทุกวันนี้
Chemistry

Innovation for Life พาไปชมนวัตกรรมโลกทุกวันนี้

byTakol Tangphatiand1 others
23/08/2022
สำรวจธรรมชาติในสวน กับงานบางกอกกำลังดี
Ecology

สำรวจธรรมชาติในสวน กับงานบางกอกกำลังดี

byTanakrit Srivilas
17/08/2022
The Principia

ส่งเสริมสังคมสร้างสรรค์ ด้วยการสื่อสารวิทยาศาสตร์

© 2021 ThePrincipia. All rights reserved.

The Principia Media

About Us
Members
Contact Us
theprincipia2021@gmail.com

Follow us

No Result
View All Result
  • ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า