• ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า
No Result
View All Result
The Principia
  • ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า
No Result
View All Result
The Principia
No Result
View All Result

การสแกนม่านตาอาจกลายเป็นเครื่องมือสอดส่องของรัฐ

The PrincipiabyThe Principia
14/05/2022
in News, Science
A A
0
การสแกนม่านตาอาจกลายเป็นเครื่องมือสอดส่องของรัฐ

ที่มาภาพ Samsung Insights

Share on FacebookShare on Twitter

กลุ่มนักวิทย์จากมหาวิทยาลัยมาลากาและบริษัท SHS ในประเทศสเปน ได้ทำการพัฒนากล้องสแกนม่านตาระบุตัวตนแบบใหม่ไฉไลกว่าเดิม โดยพวกเขาได้ทำให้กล้องมีขนาดกระทัดรัดขึ้น ประมวลผลไวขึ้น และสามารถตรวจจับม่านตาในระยะ 2 เมตร เพื่อระบุตัวตนแบบเรียลไทม์ แม้ว่าบุคคลนั้นจะเดินอยู่ท่ามกลางฝูงชนก็ตาม

ซึ่งกล้องแสกนม่านตานี้สามารถประมวลผลได้ 750 รูปต่อวินาที เมื่อเทียบกับระบบเก่าที่ประมวลผลได้ 20 รูปต่อวินาที เนื่องจากมีการคิดค้นฮาร์ดแวร์ที่มีชื่อย่อว่า MPSoC มาใช้งานทำให้พวกเขาสามารถใช้กล้องความละเอียดสูงเพียงตัวเดียวในการตรวจจับแทนที่กล้องหลายตัวแบบระบบเก่านั่นเอง

กล้องตรวจจับม่านตาระบุตัวตนแบบใหม่นี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการรักษาความปลอดภัย กระบวนการยุติธรรม ระบบสาธารณสุข ฯลฯ โดยเฉพาะการระบุตัวตนผู้คนในสถานที่พลุกพล่าน เช่น ทางเข้าออกของสถานีรถไฟ สนามกีฬา หรือแม้แต่ในหน่วยงานราชการต่าง ๆ ในอนาคตการสแกนม่านตาอาจกลายเป็นเครื่องมือสอดส่องของรัฐก็เป็นได้

อ้างอิง

Science Direct | Real-time embedded eye detection system

SHS CONSULTORES | Advanced in Motion Iris Recognition System

Samsung Insights | Biometric Scanning Techonology Is a Game-Changer for Mobile Security

The Principia

The Principia

Related Posts

การประชุมสุดยอดนักวิทยาศาสตร์เยาวชนโลก Global Young Scientists Summit ประจำปี 2566
News

การประชุมสุดยอดนักวิทยาศาสตร์เยาวชนโลก Global Young Scientists Summit ประจำปี 2566

byPichayut Tananchayakul
03/02/2023
พืชที่ไม่ได้สังเคราะห์ด้วยแสงชนิดใหม่อีกชนิดเพิ่มถูกค้นพบ
Botany

พืชที่ไม่ได้สังเคราะห์ด้วยแสงชนิดใหม่อีกชนิดเพิ่มถูกค้นพบ

byPeeravut Boonsat
06/02/2023
ทำไมวาฬถึงตัวใหญ่
Biology

ทำไมวาฬถึงตัวใหญ่

byPeeravut Boonsat
29/01/2023
The Principia บุก ม.เกษตรฯ ในโครงการ “ส่งเสริมการเป็นนักสื่อสารวิทยาศาสตร์มืออาชีพ”
News

The Principia บุก ม.เกษตรฯ ในโครงการ “ส่งเสริมการเป็นนักสื่อสารวิทยาศาสตร์มืออาชีพ”

byTanakrit Srivilas
28/01/2023
The Principia

ส่งเสริมสังคมสร้างสรรค์ ด้วยการสื่อสารวิทยาศาสตร์

© 2021 ThePrincipia. All rights reserved.

The Principia Media

About Us
Members
Contact Us
theprincipia2021@gmail.com

Follow us

No Result
View All Result
  • ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า