• ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า
No Result
View All Result
The Principia
  • ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า
No Result
View All Result
The Principia
No Result
View All Result

24 กันยายน วันมหิดล

Watcharin UnwetbyWatcharin Unwet
26/09/2022
in On this day
A A
0
24 กันยายน วันมหิดล

ที่มา : https://www.thebangkokinsight.com/news/politics-general/general/441105/

Share on FacebookShare on Twitter

วันที่ 24 กันยายน ของทุกปีเป็นหนึ่งในวันที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในวงการแพทย์ไทย เนื่องจากเป็นวันคล้ายวันสวรรคตของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ผู้ซึ่งได้รับการถวายพระราชสมัญญาว่า “พระบิดาแห่งการแพทย์ไทย” และเป็นที่รู้จักกันในชื่อ “วันมหิดล”

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (สมเด็จพระราชบิดา เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์) ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2434 ท่านสำเร็จการศึกษาและได้รับปริญญาแพทยศาสตร์ เกียรตินิยม จากมหาวิทยาลัย Harvard ในฐานะนักศึกษาพิเศษ พระองค์ได้ทรงพระราชกรณียกิจแก่วงการแพทย์และสาธารณสุขศาสตร์ของประเทศไทยไว้มากมายตั้งแต่ยังทรงศึกษาอยู่ ไม่ว่าจะเป็น การได้รับตำแหน่งเป็นอธิกรมหาวิทยาลัย และได้ทรงสอนหนังสือวิชาชีววิทยาให้กับนิสิตเตรียมแพทย์ คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะกรรมการโรงพยาบาลศิริราช ได้ทรงเปิดโรงพยาบาล และพระราชทานนามว่า “สงขลาพยาบาล” ที่จังหวัดสงขลา รวมไปถึงการเจรจากับ Dr. George Edgar Vincent ผู้เป็นประธานมูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ เพื่อปรับปรุงการศึกษาทางการแพทย์ ท่านได้ทรงวางรากฐานด้านการแพทย์ของไทยทั้งด้านการเรียนการสอนและการผลิตแพทย์เพื่อให้ทัดเทียมกับต่างประเทศ จนได้รับการถวายพระสมัญญาภิไธยจากแพทย์และประชาชนว่า “พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันของไทย”

พระองค์เสด็จสวรรคต เมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ.2472 ด้วยพระอาการน้ำท่วมพระปัปผาสะ (ปอด) สิริรวมพระชนมายุได้ 38 พรรษา

ต่อมาองค์การยูเนสโกก็ได้ประกาศยกย่องให้พระองค์เป็นบุคคลสำคัญของโลกด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ การแพทย์ การพยาบาลและการสาธารณสุข ในปี พ.ศ. 2535 และในปี พ.ศ. 2555 กระทรวงศึกษาธิการได้ถวายพระราชสมัญญาว่า “พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย”

ถึงแม้ว่าท่านจะทรงเสด็จสวรรคตไปแล้ว แต่พระราชปณิธานของท่านได้ถูกสืบสานต่อเรื่อยมาจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ตามพระราชปณิธานของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรมพระบรมราชชนก ที่ว่า

“ขอให้ถือผลประโยชน์ส่วนตัวเป็นที่สอง ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง ลาภทรัพย์และเกียรติยศจะตกมาแก่ท่านเอง ถ้าท่านทรงธรรมะแห่งอาชีพไว้ให้บริสุทธิ์”

อ้างอิง

วันมหิดล สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (royaloffice.th)

วันมหิดล : 24 ก.ย. 2472 วันสวรรคต “พระบิดา” และความสำคัญของวันนี้ – BBC News ไทย

Tags: mahidolMahidol daymedicine
Watcharin Unwet

Watcharin Unwet

As a passionate Science communicator, my desire has always been transforming Science from complex concepts into much more engaging ideas.

Related Posts

ชายผู้ยุติโรคมรณะที่ชื่อว่า “โรคพิษสุนัขบ้า”
Biology

ชายผู้ยุติโรคมรณะที่ชื่อว่า “โรคพิษสุนัขบ้า”

byTanakrit Srivilas
27/12/2022
1 ธันวาคม ดาวอังคารใกล้โลก
News

1 ธันวาคม ดาวอังคารใกล้โลก

byNakarin Chantaso
03/12/2022
อัลเฟรด โนเบล จากพ่อค้าความตาย สู่ชายผู้มอบรางวัล
Biography

อัลเฟรด โนเบล จากพ่อค้าความตาย สู่ชายผู้มอบรางวัล

byTanakrit Srivilasand1 others
21/10/2022
ปฏิกิริยาที่ช่วยให้ชีวิตนักเคมี “ง่ายขึ้น” กับรางวัลโนเบลสาขาเคมี 2022
Chemistry

ปฏิกิริยาที่ช่วยให้ชีวิตนักเคมี “ง่ายขึ้น” กับรางวัลโนเบลสาขาเคมี 2022

byPichayut Tananchayakul
06/10/2022
The Principia

ส่งเสริมสังคมสร้างสรรค์ ด้วยการสื่อสารวิทยาศาสตร์

© 2021 ThePrincipia. All rights reserved.

The Principia Media

About Us
Members
Contact Us
theprincipia2021@gmail.com

Follow us

No Result
View All Result
  • ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า