• ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า
No Result
View All Result
The Principia
  • ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า
No Result
View All Result
The Principia
No Result
View All Result

ศิลปินผู้อยู่เบื้องหลังรางวัลโนเบล

Nakarin ChantasobyNakarin Chantaso
03/10/2022
in Art & Culture, Biography
A A
0
ศิลปินผู้อยู่เบื้องหลังรางวัลโนเบล
Share on FacebookShare on Twitter

รางวัลโนเบล เป็นรางวัลประจำปีระดับนานาชาติ จัดโดยคณะกรรมการสแกนดิเนเวีย เพื่อพิจารณาผลงานวิจัยหรือความอัจฉริยะและความเชี่ยวชาญที่โดดเด่นหรือสร้างคุณประโยชน์ให้กับมนุษยชาติทั้งในด้านวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม ตามเจตจำนงของอัลเฟรด โนเบล นักเคมีชาวสวีเดน ผู้ประดิษฐ์ไดนาไมท์ โดยก่อตั้งขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1895

นอกเหนือจากการมอบรางวัลแล้วอีกหนึงเอกลักษณ์ของรางวัลโนเบล คือ ภาพวาดใบหน้าของผู้ที่ได้รับรางวัลที่ถูกแต่งเต้มด้วยเส้นสายสีทองและดำเป็นเอกลักษณ์ที่น่าจดจำทุกปี ซึ่งนั่นคือผลงานของศิลปินนามว่า “Niklas Elmehed”

ที่มา : Niklas Elmehed (@niklaselmehed) • รูปและวิดีโอ Instagram

Niklas Elmehed เป็นศิลปินชาวสวีเดนที่เริ่มทำงานให้กับโนเบลมีเดียมาตั้งเเต่ปีค.ศ. 2012 ในตำแหน่งผู้กำกับศิลป์ ก่อนที่จะเปลี่ยนมาทำงานฟรีแลนซ์ในอีกหลายปีต่อมา โดยก่อนจะถึงปี ค.ศ. 2012 การหาภาพของผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบลในแต่ละปีค่อนข้างมีข้อจำกัด โดยเฉพาะผู้ที่ได้รับรางวัลด้านวิทยาศาสตร์ ทั้งหาภาพได้ยาก ภาพไม่คมชัดหรือพิกเซลในแต่ละภาพไม่เท่ากัน นอกจากนี้การหาภาพเหล่านี้ยังต้องเก็บเป็นความลับก่อนการประกาศรางวัลอีกด้วย ซึ่งไม่น่าแปลกใจเลยที่เขาตัดสินใจเปลี่ยนมาใช้ภาพวาดแทนภาพถ่าย

ต่อมาในปี ค.ศ. 2017 รางวัลโนเบลผ่าน “การปรับโฉมแบบกราฟิก” มีการตัดสินใจว่าสีหลักสําหรับการประกาศรางวัลจะเป็นสีทอง ดังนั้น Niklas Elmehed จึงเกิดแนวคิดในการใช้ฟอยล์สีทองในผลงานของเขา

“ฉันทดลองทาสีทองหลาย ๆ แบบและฉันตกหลุมรักแผ่นฟอยล์สีทอง ฟอยล์โลหะบางเฉียบที่คุณสามารถทาลงบนภาพวาดด้วยกาวพิเศษ ร่วมกับโครงร่างสีดำ วาดลงบนพื้นหลังสีขาว ฉันคิดว่าภาพบุคคลนี้มีความทรงพลังและความพิเศษเฉพาะตัว” เขากล่าว

สำหรับในปีนี้รางวัลโนเบลจะมีการประกาศผลรางวัลในช่วงวันที่ 3-10 ตุลาคมนี้ มาลุ้นกับว่ารางวัลแต่ละประเภทจะเป็นอย่างไรกันบ้าง ซึ่งพวกเรา The Principia ก็ไม่พลาดที่จะนำมาสรุปให้ทุกคนอ่านกันอีกเช่นเคย

อ้างอิง

The artist responsible for those gold-leafed Nobel portraits would like to paint something other than old white men, please (popsci.com)

Niklas Elmehed: The Artist Behind Those Gold-Leafed Nobel Prize Illustrations (ndtv.com)

Tags: Niklas ElmehedNobel prizePortraits
Nakarin Chantaso

Nakarin Chantaso

บรรณาธิการบริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง The Principia ผู้ชื่นชอบในศิลปะ การสื่อสาร อวกาศ และเป็นทาสแมว

Related Posts

เปิดไฟล์โปรเจ็กต์ A119 แผนยิงระเบิดใส่ดวงจันทร์
Astronomy

เปิดไฟล์โปรเจ็กต์ A119 แผนยิงระเบิดใส่ดวงจันทร์

byChinapong Lienpanich
31/12/2022
ชายผู้ยุติโรคมรณะที่ชื่อว่า “โรคพิษสุนัขบ้า”
Biology

ชายผู้ยุติโรคมรณะที่ชื่อว่า “โรคพิษสุนัขบ้า”

byTanakrit Srivilas
27/12/2022
ทั้งช่วยชีวิต ทั้งคร่าชีวิต: นักวิทย์ผู้รักชาติจนตัวตาย แต่ได้รับผลตอบแทนแสนเจ็บปวด
Biography

ทั้งช่วยชีวิต ทั้งคร่าชีวิต: นักวิทย์ผู้รักชาติจนตัวตาย แต่ได้รับผลตอบแทนแสนเจ็บปวด

byTanakrit Srivilas
09/12/2022
5 เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ “มารี คูรี” นักวิทยาศาสตร์หญิงเจ้าของสองรางวัลโนเบล
Biography

5 เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ “มารี คูรี” นักวิทยาศาสตร์หญิงเจ้าของสองรางวัลโนเบล

byPichayut Tananchayakul
07/11/2022
The Principia

ส่งเสริมสังคมสร้างสรรค์ ด้วยการสื่อสารวิทยาศาสตร์

© 2021 ThePrincipia. All rights reserved.

The Principia Media

About Us
Members
Contact Us
theprincipia2021@gmail.com

Follow us

No Result
View All Result
  • ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า