• ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า
No Result
View All Result
The Principia
  • ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า
No Result
View All Result
The Principia
No Result
View All Result

งานวิจัยล่าสุดพบ ดวงจันทร์ของโลกอาจใช้เวลาไม่กี่ชั่วโมงในการก่อตัวขึ้นจากเศษซากของดาว

Nakarin ChantasobyNakarin Chantaso
11/10/2022
in Astronomy, Cosmology
A A
0
งานวิจัยล่าสุดพบ ดวงจันทร์ของโลกอาจใช้เวลาไม่กี่ชั่วโมงในการก่อตัวขึ้นจากเศษซากของดาว

Cr. Dr. Jacob Kegerreis

Share on FacebookShare on Twitter

ตั้งแต่กลางศตวรรษ 1970 นักดาราศาสตร์คาดว่าดวงจันทร์ของโลกอาจเกิดขึ้นจากการชนกันระหว่างโลกกับดาวที่มีขนาดประมาณดาวอังคารที่มีชื่อว่า ‘ธีอา (Theia)’ ซึ่งส่งผลให้เกิดเศษซากของดวงดาวขนาดมหึมา ซึ่งเพื่อนบ้านของเราอย่างดวงจันทร์ก็ค่อย ๆ ก่อตัวขึ้นอย่างช้า ๆ เป็นเวลาหลายพันปี

แต่สมมติฐานใหม่ที่มีพื้นฐานมาจากการจําลองของซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่มีความละเอียดสูงกว่าที่เคยมีมาได้แสดงให้เห็นว่าการก่อตัวของดวงจันทร์อาจไม่ได้ช้าและค่อยเป็นค่อยไป แต่อาจเกิดขึ้นภายในเวลาไม่กี่ชัวงโมงแทน

นักดาราศาสตร์ได้รับเบาะแสแรกเกี่ยวกับการก่อตัวดวงจันทร์หลังจากการกลับมาของภารกิจอพอลโล 11 ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 1969 เมื่อนักบินอวกาศของนาซาอย่างนีลอาร์มสตรองและบัซอัลดรินได้นําหินดวงจันทร์และฝุ่น 21.6 กิโลกรัมกลับมายังโลก

ตัวอย่างที่ได้มามีอายุประมาณ 4.5 พันล้านปีก่อน ทําให้การก่อตัวของดวงจันทร์อาจเกิดขึ้นในช่วงประมาณ 150 ล้านปีหลังจากการก่อตัวของระบบสุริยะ

นักดาราศาสตร์คาดว่าดวงจันทร์ของโลกเกิดจากการชนกันอย่างรุนแรงระหว่างโลกและดาวเคราะห์สมมุติซึ่งนักวิทยาศาสตร์ตั้งชื่อตามหนึ่งในเทพไททัน ในตํานานเทพเจ้ากรีก ซึ่งเป็นแม่ของเทพธิดาแห่งดวงจันทร์ เซกซากจากการชนกันจะค่อย ๆ หลอมรวมกันเกิดเป็นดวงจันทร์อย่างช้า ๆ 

เพื่อตรวจสอบความเป็นไปได้าหรับการก่อตัวของดวงจันทร์หลังจากการชนกัน นักดาราศาสตร์ได้ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า SPH With Inter-dependent Fine-grained Tasking (SWIFT) ซึ่งได้รับการออกแบบมาเพื่อสร้างแบบจําลองที่มีความซับซ้อน และได้ใช้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยสร้างแบบจำลองนี้ โดยจำลองการชนกันหลากหลายมุมด้วยการหมุนและความเร็วที่แตกต่างกัน

จากการสร้างแบบจำลองความละเอียดสูงทำให้นักดาราศาตร์พบว่าดวงจันทร์สามารถก่อตัวขึ้นโดยใช้เวลาไม่กี่ชั่วโมงจากชิ้นส่วนของโลกที่ถูกขับออกมาและชิ้นส่วนที่แตกสลายของธีนา

อย่างไรก็ตามนักวิจัยยังคงต้องตรวจสอบตัวอย่างหินและฝุ่นที่ขุดขึ้นมาจากส่วนลึกใต้พื้นผิวของดวงจันทร์ซึ่งเป็นวัตถุประสงค์ของภารกิจอาร์ทีมิสต่อไปในอนาคต

สามารถรับชมภาพแบบจำลองการชนกันได้ที่นี้ YouTube

อ้างอิง

Earth’s Moon Could Have Taken Just Hours to Form From a Shattered Mess : ScienceAlert

Tags: astronomymoonthe origin of moon
Nakarin Chantaso

Nakarin Chantaso

บรรณาธิการบริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง The Principia ผู้ชื่นชอบในศิลปะ การสื่อสาร อวกาศ และเป็นทาสแมว

Related Posts

โลกพ้นภัย ดาวเคราะห์น้อย 2023BU เฉียดโลกมากที่สุด
Astronomy

โลกพ้นภัย ดาวเคราะห์น้อย 2023BU เฉียดโลกมากที่สุด

byPeeravut Boonsat
29/01/2023
เปิดไฟล์โปรเจ็กต์ A119 แผนยิงระเบิดใส่ดวงจันทร์
Astronomy

เปิดไฟล์โปรเจ็กต์ A119 แผนยิงระเบิดใส่ดวงจันทร์

byChinapong Lienpanich
31/12/2022
รูหนอนในฟิสิกส์ กับ Bifrost (God of war: Ragnarok)
Cosmology

รูหนอนในฟิสิกส์ กับ Bifrost (God of war: Ragnarok)

byTakol Tangphati
15/12/2022
mu Space เชิญสื่อร่วมฟังอัปเดตเทคโนโลยีล่าสุดภายในงาน TECHDAY 2022
Astronomy

mu Space เชิญสื่อร่วมฟังอัปเดตเทคโนโลยีล่าสุดภายในงาน TECHDAY 2022

byTakol Tangphatiand2 others
11/12/2022
The Principia

ส่งเสริมสังคมสร้างสรรค์ ด้วยการสื่อสารวิทยาศาสตร์

© 2021 ThePrincipia. All rights reserved.

The Principia Media

About Us
Members
Contact Us
theprincipia2021@gmail.com

Follow us

No Result
View All Result
  • ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า