• ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า
No Result
View All Result
The Principia
  • ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า
No Result
View All Result
The Principia
No Result
View All Result

12 กรกฎาคมนี้ เตรียมพบกับภาพแรกจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์

Nakarin ChantasobyNakarin Chantaso
11/07/2022
in Astronomy, News
A A
0
12 กรกฎาคมนี้ เตรียมพบกับภาพแรกจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์

credit photo : NASA

Share on FacebookShare on Twitter

องค์การนาซาร่วมกับองค์การอวกาศยุโรป (ESA) และองค์การอวกาศแคนาดา (CSA) จะเผยแพร่ภาพสีเต็มรูปแบบที่มีความละเอียดสูงครั้งแรกและข้อมูลสเปกโทรสโกปีของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เว็บบ์ (James Webb Space Telescope) ในวันอังคารที่ 12 กรกฎาคม ค.ศ. 2022 เวลา 21:30 น. ตามเวลาประเทศไทย จากศูนย์การบินอวกาศก็อดดาร์ดของนาซาในเมืองกรีนเบลต์รัฐแมริแลนด์ สหรัฐอเมริกา

โดยล่าสุดเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม ค.ศ. 2022 ที่ผ่านมาได้มีการเปิดเผยว่าภาพที่ทำการเผยแพร่ในครั้งนี้จะมาจากเป้าหมายต่าง ๆ ในอวกาศถึง 5 วัตถุด้วยกัน ได้แก่

Carina Nebula by Harel Boren

1. Carina Nebula

Carina Nebula หรือเนบิวลากระดูกงูเรือ เป็นหนึ่งในเนบิวลาที่ใหญ่ที่สุดและสว่างที่สุดในท้องฟ้า ซึ่งอยู่ห่างออกไปประมาณ 7,600 ปีแสงในกลุ่มดาวกระดูกงูเรือในซีกฟ้าใต้

2. WASP-96 b (spectrum)

WASP-96 b (spectrum) เป็นดาวเคราะห์ขนาดยักษ์นอกระบบสุริยะของเรา ประกอบด้วยก๊าซเป็นส่วนใหญ่ ดาวเคราะห์ดวงนี้อยู่ห่างจากโลกเกือบ 1,150 ปีแสง โดยโคจรรอบดาวฤกษ์ทุก ๆ 3.4 วัน และมีมวลประมาณครึ่งหนึ่งของดาวพฤหัสบดี

NGC 3132 is a striking example of a planetary nebula. This expanding cloud of gas, surrounding a dying star, is known to amateur astronomers in the southern hemisphere as the ‘Eight-Burst’ or the ‘Southern Ring’ Nebula.
Credit : Hubble Heritage Team (STScI/AURA/NASA/ESA)

3. Southern Ring Nebul

Southern Ring Nebula หรือเนบิวลาวงแหวนใต้ เป็นเนบิวลาดาวเคราะห์ที่อยู๋ห่างจากโลกของเรา 2,000 ปีแสง

Stephan’s Quintet Credit : ESA

4. Stephan’s Quintet

Stephan’s Quintet เป็นกระจุกกาแล็กซีที่อยู่ห่างออกไป 290 ล้านปีแสง ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวเพกาซัส

SMACS 0723
ที่มา https://archive.stsci.edu/prepds/relics/color_images/smacs0723-73.html?fbclid=IwAR3STy8y43l2pELDHf6pn8k6zsm81EbZzp0UGnKnokEIi9-ZyPoBNXzy8Ck

5. SMACS 0723

SMACS 0723 เป็นกระจุกกาแล็กซีขนาดใหญ่ ที่ตั้งอยู่เบื้องหน้าทำให้เกิดการบิดเบือนแสงของวัตถุที่อยู่เบื้องหลัง ทำให้เราสามารถสังเกตเห็นกาแล็กซีที่อยู่ห่างไกลและจางได้

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เว็บบ์ นับว่าเป็นกล้องโทรทรรศน์อวกาศที่ทันสมัยที่สุดในยุคปัจจุบัน การเปิดตัวภาพแรกเหล่านี้นับเป็นจุดเริ่มต้นอย่างเป็นทางการของปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ของเจมส์ เว็บบ์ ซึ่งจะยังคงปฎิบัติภารกิจสํารวจอวกาศที่สําคัญต่อไป

รับชมการถ่ายถอดสดได้ทาง https://www.nasa.gov/nasalive

อ้างอิง

First Images from the James Webb Space Telescope | NASA

NASA Live | NASA

NASA Shares List of Cosmic Targets for Webb Telescope’s 1st Images | NASA

Tags: astronomyJames WebbJames Webb Space Telescopewebbfirstimages
Nakarin Chantaso

Nakarin Chantaso

บรรณาธิการบริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง The Principia ผู้ชื่นชอบในศิลปะ การสื่อสาร อวกาศ และเป็นทาสแมว

Related Posts

การประชุมสุดยอดนักวิทยาศาสตร์เยาวชนโลก Global Young Scientists Summit ประจำปี 2566
News

การประชุมสุดยอดนักวิทยาศาสตร์เยาวชนโลก Global Young Scientists Summit ประจำปี 2566

byPichayut Tananchayakul
03/02/2023
พืชที่ไม่ได้สังเคราะห์ด้วยแสงชนิดใหม่อีกชนิดเพิ่มถูกค้นพบ
Botany

พืชที่ไม่ได้สังเคราะห์ด้วยแสงชนิดใหม่อีกชนิดเพิ่มถูกค้นพบ

byPeeravut Boonsat
06/02/2023
ทำไมวาฬถึงตัวใหญ่
Biology

ทำไมวาฬถึงตัวใหญ่

byPeeravut Boonsat
29/01/2023
โลกพ้นภัย ดาวเคราะห์น้อย 2023BU เฉียดโลกมากที่สุด
Astronomy

โลกพ้นภัย ดาวเคราะห์น้อย 2023BU เฉียดโลกมากที่สุด

byPeeravut Boonsat
29/01/2023
The Principia

ส่งเสริมสังคมสร้างสรรค์ ด้วยการสื่อสารวิทยาศาสตร์

© 2021 ThePrincipia. All rights reserved.

The Principia Media

About Us
Members
Contact Us
theprincipia2021@gmail.com

Follow us

No Result
View All Result
  • ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า