• ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า
No Result
View All Result
The Principia
  • ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า
No Result
View All Result
The Principia
No Result
View All Result

ทำไมเสื้อกาวน์ไม่ควรใส่นอกห้องแล็บ

Watcharin UnwetbyWatcharin Unwet
03/07/2022
in Science
A A
0
ทำไมเสื้อกาวน์ไม่ควรใส่นอกห้องแล็บ
Share on FacebookShare on Twitter

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ “เสื้อกาวน์”

ทุกวันนี้ เสื้อกาวน์ แทบจะเป็นสัญลักษณ์ประจำตัวของบุคลากรทางการแพทย์และนักวิทยาศาสตร์ไปแล้ว ว่าแต่ว่าเสื้อกาวน์มีกี่ชนิดบ้าง แต่ละชนิดแตกต่างกันอย่างไร และมีข้อปฏิบัติในการใช้งานอย่างไร เราจะมาไขข้อสงสัยผ่านบทความนี้กัน

เสื้อกาวน์คืออะไร?

เสื้อกาวน์ (Laboratory coat/gown) ถูกคิดค้นขึ้นมาให้นักวิทยาศาสตร์สวมใส่ระหว่างที่ทำการทดลองในห้องปฏิบัติการเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของสารเคมีอันตรายต่างๆ รวมไปถึงเชื้อโรคที่อาจกระเด็นมาสู่ร่างกายได้ นอกจากนั้นยังใช้สำหรับบุคลากรทางการแพทย์ที่ต้องทำงานคลุกคลีอยู่กับผู้ป่วย โดยเสื้อกาวน์จะเป็นเหมือนเกราะป้องกันชั้นต้นที่ช่วยป้องกันไม่ให้ร่างกายสัมผัสกับเชื้อโรคของผู้ป่วยโดยตรง รวมทั้งสารคัดหลั่ง เลือด หนอง และอื่นๆที่อาจจะมีเชื้อโรคแฝงตัวอยู่ในนั้นด้วย

ชนิดของเสื้อกาวน์ และการใช้งาน

เสื้อกาวน์จะแบ่งได้เป็น 4 ชนิดหลักๆ ซึ่งจะแตกต่างตามลักษณะการใช้งาน โดยขึ้นอยู่กับวัสดุหรือสารที่เราทำงานคลุกคลีอยู่ด้วย ดังนี้

Flame-Resistant Laboratory Coat เป็นกาวน์เพียงแบบเดียวที่ทำจากวัสดุกันไฟเพื่อใช้ในการปฎิบัติงานที่จะเผชิญเปลวไฟ
ที่มา :Bulwark Flame Resistant Nomex Lab Coats

1. Flame-Resistant Laboratory Coat 

เสื้อกาวน์ที่ช่วยป้องกันร่างกายของผู้สวมใส่จากการเกิดประกายไฟได้ ซึ่งเสื้อกาวน์ชนิดนี้ควรสวมใส่เมื่อกำลังทำงานกับวัสดุที่สามารถลุกไหม้ติดไฟได้เองรวมไปถึงการปฏิบัติการที่มีความเสี่ยงจะสัมผัสกับเปลวไฟ

Knit-Wrist Laboratory Coat ลักษณะแขนรัดเข้ากับข้อมือป้องกันแขนเสื้อสัมผัสกับสิ่งส่งตรวจ สารเคมีระหว่างปฎิบัติการ
ที่มา : Amazon

2. Knit-Wrist Laboratory Coat

เสื้อกาวน์ชนิดที่สีขาวแบบทั่วไปที่มีการถักที่ปลายแขนให้เป็นแบบจั๊มรัดข้อมือ สำหรับผู้ที่กังวลว่าปลายแขนเสื้อแบบเปิดปกติจะรบกวนระหว่างที่ทำงานในห้องปฏิบัติการ

Traditional Laboratory Coat เสื้อกาวน์ที่เรามักเห็นไปทั่วไปผ่านสื่อต่าง ๆ
ที่มา :Doctor Stranger

3. Traditional Laboratory Coat

เสื้อกาวน์สีขาวที่ใส่ทำงานทั่วไปในห้องปฏิบัติการ 

Fluid-Resistant Laboratory Coat จะมีลักษณะกระดุมที่ซ่อนอยู่ภายใต้เสื้อเพื่อป้องกันสารคัดหลั่งกระเด็นใส่ผู้ใส่ระหว่างซอกของกระดุม
ที่มา : Fluid Resistant Scrub Lab Coat

4. Fluid-Resistant Laboratory Coat

เสื้อกาวน์ที่ออกแบบมาเพื่อป้องกันการปนเปื้อนเข้าสู่ร่างกายจากสารอินทรียวัถตุ เลือด สารคัดหลั่ง และวัสดุติดเชื้ออื่นๆ (Potentially Infectious Materials/OPIM) ในกรณีที่มีสารดังกล่าวกระเด็นออกมาโดยไม่ได้ตั้งใจ

ข้อควรระวัง

เนื่องจากเสื้อกาวน์เป็นชุดที่มีโอกาสปนเปื้อนสูง ดังนั้น ผู้ใช้งานจึงควรต้องสวมใส่อย่างระมัดระวัง ทางที่ดีที่สุดคือทำตามข้อปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการอย่างเคร่งครัด เลือกใช้เสื้อกาวน์ให้เหมาะสมกับลักษณะของงาน และถอดเสื้อกาวน์ทันทีหลังจากที่ใช้งานเสร็จแล้วเพื่อหลีกเลี่ยงการแพร่กระจายของเชื้อโรคที่อาจปนเปื้อนอยู่กับเสื้อกาวน์ไปสู่ผู้คนด้านนอก

อ้างอิง

Laboratory Coats

Guidance for the Selection of Laboratory Coats (nih.gov)

Tags: laboratory gown
Watcharin Unwet

Watcharin Unwet

As a passionate Science communicator, my desire has always been transforming Science from complex concepts into much more engaging ideas.

Related Posts

Rogue wave คลื่นที่ไม่ได้อยู่แค่ในจินตนาการ
Physics

Rogue wave คลื่นที่ไม่ได้อยู่แค่ในจินตนาการ

byPeeravut Boonsat
26/12/2022
“เชฟทักษ์” คนไทย กับสองรางวัลใหญ่ในการแข่งขัน FameLab International 2022
News

“เชฟทักษ์” คนไทย กับสองรางวัลใหญ่ในการแข่งขัน FameLab International 2022

byTanakrit Srivilas
26/11/2022
ยุงลาย ร่างจำแลงแห่งความตาย
Diseases

ยุงลาย ร่างจำแลงแห่งความตาย

byThanaset Trairat
20/11/2022
จบลงอย่างสวยงาม กับโครงการ FameLab Thailand 2022
News

จบลงอย่างสวยงาม กับโครงการ FameLab Thailand 2022

byPichayut Tananchayakul
22/10/2022
The Principia

ส่งเสริมสังคมสร้างสรรค์ ด้วยการสื่อสารวิทยาศาสตร์

© 2021 ThePrincipia. All rights reserved.

The Principia Media

About Us
Members
Contact Us
theprincipia2021@gmail.com

Follow us

No Result
View All Result
  • ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า