• ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า
No Result
View All Result
The Principia
  • ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า
No Result
View All Result
The Principia
No Result
View All Result

ซากมหานวดาราอันโด่งดัง อาจชนเข้ากับอะไรบางอย่าง

Nakarin ChantasobyNakarin Chantaso
01/04/2022
in Astronomy
A A
0
ซากมหานวดาราอันโด่งดัง อาจชนเข้ากับอะไรบางอย่าง

Multi-wavelength image of Cassiopeia A. (NASA/JPL-Caltech)

Share on FacebookShare on Twitter

จากการศึกษาครั้งใหม่ของการระเบิดที่มีชื่อเสียงที่สุดในจักรวาลอย่าง ซุปเปอร์โนวา Cassiopeia A ได้เผยให้เห็นความไม่สมดุลที่น่าสงสัย

Cassiopeia A เป็นเศษซากซุปเปอร์โนวาที่เหลืออยู่ในกลุ่มดาวค้างคาวหรือกลุ่มดาวแคสสิโอเปีย นับเป็นหนึ่งในวัตถุที่มีชื่อเสียงและได้รับการศึกษามาเป็นอย่างดีในทางช้างเผือก เราเชื่อกันว่าซุปเปอร์โนวา Cassiopeia A ถูกค้นพบครั้งแรกในปีค.ศ. 1670 ทำให้ท้องฟ้าสว่างไสวเป็นอย่างมากและนักดาราศาสตร์ก็ได้ศึกษาเศษซากส่วนที่เหลือตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา นับเป็นตัวอย่างที่ดีเยี่ยมในการศึกษาวิวัฒนาการของซุปเปอร์โนวา

Multi-wavelength image of Cassiopeia A. (NASA/JPL-Caltech)

Cassiopeia A เปล่งแสงออกมาหลายช่วงความยาวคลื่น ประกอบด้วยเปลือกทรงกลมขนาดใหญ่ของสสารที่ขยายตัว ซึ่งน่าจะถูกปล่อยออกมาตอนที่ดาวฤกษ์เริ่มไม่เสถียร ก่อนจะระเบิดเป็นซุปเปอร์โนวา โดยมีการขยายตัวในอัตราเฉลี่ยระหว่าง 4,000 ถึง 6,000 กิโลเมตรต่อวินาที

แต่จากการศึกษาครั้งใหม่พบว่ามีบางอย่างทำให้ส่วนของเมฆเคลื่อนที่เข้ามาด้านใน ย้อนสวนทางไปยังแหล่งกำเนิดของการระเบิดแทนที่จะเคลื่อนที่ออกจากแหล่งกำเนิดไปด้านนอกพร้อมกับเศษซากที่เหลือ

Jacco Vink นักดาราศาสตร์จากมหาวิทยาลัยอัมสเตอร์ดัมในเนเธอร์แลนด์ได้ศึกษาข้อมูลเอ็กซ์เรย์จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา เพื่อรวบรวมว่าสิ่งที่เหลืออยู่จากการระเบิดมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรเมื่อเวลาผ่านไป พวกเขาพบว่าส่วนหนึ่งทางฝั่งตะวันตกของเปลือกหุ้มกำลังเคลื่อนที่กลับเข้าด้านในสู่ศูนย์กลางด้วยความเร็วระหว่าง 3,000 ถึง 8,000 กิโลเมตรต่อวินาที

A map of Cassiopeia A showing its measured expansion. (J.Vink/astronomie.nl)

นอกจากนั้นพวกเขายังพบว่าคลื่นกระแทกด้านนอกของส่วนเดียวกันของเปลือกกำลังเร่งขึ้น โดยแบบจำลองคอมพิวเตอร์ของคลื่นกระแทกที่กำลังขยายตัวได้อธิบายความไม่สมดุลนี้ว่าเกิดจากการชนกับบางสิ่ง ซึ่งจะทำให้ shock front คลื่นกระแทกด้านหน้าช้าลงในขั้นต้น จากนั้นจึงเร่งความเร็ว

คำถามคือแล้วคลื่นกระแทกสามารถชนกับอะไรได้บ้าง?

เราทราบจากซากซุปเปอร์โนวาอื่นๆ ว่าสสารในอวกาศรอบดาวฤกษ์สามารถสร้างแรงกระแทกย้อนกลับได้ ในบริเวณที่มีความหนาแน่นของก๊าซและฝุ่นในอวกาศ ในกรณีของ Cassiopeia A พื้นที่ที่หนาแน่นไปด้วยเศษซากที่ปล่อยออกมาจากดาวที่กำลังจะตายสามารถสร้างเปลือกบางส่วนเพื่อให้ส่วนที่เหลือกระแทกเข้าไปในขณะที่มันขยายออกด้านนอกได้

อ้างอิง

https://www.sciencealert.com/the-inner-eruption-of-a-famous-supernova-has-collided-with-something

Tags: Cassiopeia ASupernovasupernova remnant
Nakarin Chantaso

Nakarin Chantaso

บรรณาธิการบริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง The Principia ผู้ชื่นชอบในศิลปะ การสื่อสาร อวกาศ และเป็นทาสแมว

Related Posts

โลกพ้นภัย ดาวเคราะห์น้อย 2023BU เฉียดโลกมากที่สุด
Astronomy

โลกพ้นภัย ดาวเคราะห์น้อย 2023BU เฉียดโลกมากที่สุด

byPeeravut Boonsat
29/01/2023
เปิดไฟล์โปรเจ็กต์ A119 แผนยิงระเบิดใส่ดวงจันทร์
Astronomy

เปิดไฟล์โปรเจ็กต์ A119 แผนยิงระเบิดใส่ดวงจันทร์

byChinapong Lienpanich
31/12/2022
รูหนอนในฟิสิกส์ กับ Bifrost (God of war: Ragnarok)
Cosmology

รูหนอนในฟิสิกส์ กับ Bifrost (God of war: Ragnarok)

byTakol Tangphati
15/12/2022
mu Space เชิญสื่อร่วมฟังอัปเดตเทคโนโลยีล่าสุดภายในงาน TECHDAY 2022
Astronomy

mu Space เชิญสื่อร่วมฟังอัปเดตเทคโนโลยีล่าสุดภายในงาน TECHDAY 2022

byTakol Tangphatiand2 others
11/12/2022
The Principia

ส่งเสริมสังคมสร้างสรรค์ ด้วยการสื่อสารวิทยาศาสตร์

© 2021 ThePrincipia. All rights reserved.

The Principia Media

About Us
Members
Contact Us
theprincipia2021@gmail.com

Follow us

No Result
View All Result
  • ข่าว
  • เทคโนโลยี
    • หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
    • วิศวกรรม
    • ยานพาหนะ
    • พลังงาน
    • เทคโนโลยีอาหาร
    • เทคโนโลยีการคำนวณ
    • เทคโนโลยีอวกาศ
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
    • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
    • ชีววิทยาโมเลกุล
    • วิวัฒนาการ
    • สัตววิทยา
    • พฤกษศาสตร์
    • จุลชีววิทยา
    • กีฏวิทยา
    • นิเวศวิทยา
  • ดาราศาสตร์
    • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
    • จักรวาลวิทยา
    • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
  • อื่น ๆ
    • ศิลปะ & วัฒนธรรม
    • คณิตศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • ปรัชญา
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา
    • Sci-fi
  • ร้านค้า